สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยีและสารสนเทศ
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
Division of Information and Communication Technology for Education (DICT)

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

ศาสตราจารย์ ดร.พัลลภ พิริยะสุรวงศ์

ศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข

รองศาสตราจารย์ ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ

About Us

ครอบครัว DICT

เราผลิตดุษฎีบัณฑิตและมหาบัณฑิตทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาอย่างมีคุณภาพระดับสากลมาอย่างต่อเนื่อง

  • สำเร็จการศึกษาตามกำหนดเวลา
  • มาตรฐานสากล
  • องค์กรแห่งความสุข
  • คณาจารย์ดูแลอย่างใกล้ชิด
  • คุณภาพเชิงประจักษ์
  • ผลงานตีพิมพ์มากมาย
  • ผู้เรียนประสบความสำเร็จ

มาเป็นครอบครัวเดียวกับเรา DICT

Our Services

การบริการของสาขา DICT

ความพร้อมในการจัดการเรียนการสอนระดับบัณฑิตศึกษา สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา

การเผยแพร่ข้อมูล

สาขา DICT มีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารผ่านทางเว็บไซต์และสื่ออื่น ๆ หลากหลาย

Facebook

ติดตามกิจกรรมต่าง ๆ ของสาขาวิชาได้ทางสื่อสังคมออนไลน์ Facebook เป็นช่องทางสื่อสารที่ทุกท่านสามารถมีส่วนร่วม

Facebook DICT KMUTNB

Facebook (เดิม)
Facebook

ติดตามและตรวจสอบผลงาน

สาขาวิชาเปิดรับสมัครผ่านบัณฑิตวิทยาลัยมีผู้สำเร็จการศึกษานับร้อยคน สามารถตรวจสอบและติดตามความก้าวหน้า ตลอดจนผลการสำเร็จการศึกษาได้อย่างโปร่งใส ตรวจสอบได้ที่

สืบค้นวิทยานิพนธ์/สารนิพนธ์/ข้อมูลอาจารย์บัณฑิตศึกษา
https://thesis.grad.kmutnb.ac.th/thesis/



ผลงานตีพิมพ์ระดับนานาชาติ

สาขาวิชามีผลงานตีพิมพ์ในระดับนานาชาติในฐานข้อมูล Web of Science , SCOPUS, ERIC และฐานข้อมูลสากลอื่น ๆ หลายร้อยเรื่อง
แวะไปศึกษาได้ที่

บทความวิจัยระดับนานาชาติ
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา 2015-2023
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
บทความวิจัยระดับนานาชาติ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา 2015-2024 (kmutnb.ac.th)

วิทยานิพนธ์ของสาขา

สาขาวิชามีนักศึกษาสำเร็จระดับปริญญาเอกและปริญญาโทนับร้อยคน ผู้สนใจสามารถเข้าไปศึกษาค้นคว้าวิทยานิพนธ์ของสาขาได้ที่

วิทยานิพนธ์ปริญญาโท-ปริญญาเอก
สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา พ.ศ.2556-2564
คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

รายชื่อวิทยานิพนธ์ปริญญาเอก สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา พ.ศ.2557-2566 (kmutnb.ac.th)

การเข้าถึงฐานข้อมูลวิจัย

นักศึกษาปริญญาโทและปริญญาเอกของสาขาวิชาจะได้รับสิทธิในการเข้าถึงฐานข้อมูลวิจัยในต่างประเทศที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือจัดหาไว้ให้เช่น IEEE, SCOPUS, ACM, EBCOHOST และอื่น ๆ ผ่านระบบ Myloft …..

ผลลัพธ์การศึกษา DICT

สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา มุ่งผลิตดุษฎีบัณฑิตและมหาบัณฑิตผู้สง่างามและทรงคุณค่าให้กับสังคม เป็นที่ประจักษ์ว่าผลลัพธ์จากการศึกษาส่งผลไปยังผู้สำเร็จการศึกษาในสามด้านหลัก นักวิชาการขั้นสูง นักบริหารขั้นสูงและนักวิจัยขั้นสูง

นักวิชาการขั้นสูง

ตำแหน่งทางวิชาการ


  • ผู้สำเร็จการศึกษาประสบความสำเร็จเป็นครูชำนาญการพิเศษ
  • ศึกษานิเทศก็ชำนาญการพิเศษ
  • นักวิชาการศึกษาชำนาญการพิเศษ
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์
  • รองศาสตราจารย์

นักบริหารขั้นสูง

บทบาทหน้าที่ในฐานะผู้บริหาร


  • ผู้สำเร็จการศึกษาจาก DICT ดำรงตำแหน่งรองอธิการบดี
  • คณบดี
  • ผู้อำนวยการสำนัก
  • รองผู้อำนวยการ/รองคณบดี
  • หัวหน้าสาขาวิชา ฯลฯ

นักวิจัยขั้นสูง

รางวัลผลงานวิจัยและทุนวิจัย


  • นักศึกษา DICT ได้รับทุนวิจัยบัณฑิตศึกษา จากสภาวิจัยแห่งชาติ
  • นักศึกษาปริญญาโทได้รับรางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่นของมหาวิทยาลัย
  • ผู้สำเร็จการศึกษาได้รับรางวัลนักวิจัยดีเด่นของสภาวิจัยแห่งชาติ
  • ผู้สำเร็จการศึกษาได้รับทุนสนับสนุนวิจัยจากหน่วยงาน
  • นักศึกษาได้ไปทำวิจัยร่วมกับมหาวิทยาลัยในต่างประเทศ
HALL of Frame

ผู้สำเร็จการศึกษาประสบความสำเร็จในวิชาชีพและหน้าที่การงาน

ผู้สำเร็จการศึกษาจากสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา ได้ออกไปสร้างชื่อเสียงและเกียรติยศให้กับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ โดยได้รับความไว้วางใจให้ทำหน้าที่บริหารหน่วยงานต่าง ๆ และเจริญก้าวหน้าในตำแหน่งทางวิชาการเป็นอันมาก

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุวุฒิ ตุ้มทอง นักศึกษาปริญญาเอก รุ่นที่ 1 ได้รับการแต่งตั้งให้เป็นรองอธิการบดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ และเคยดำรงตำแหน่งบริหารมาทั้งที่เป็นคณบดี และผู้อำนวยการสำนัก

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ณัฐพล ธนเชวงสกุล นักศึกษาปริญญาเอก รุ่นที่ 5 ได้รับตำแหน่งให้ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ และยังเป็นรองผู้อำนวยการสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

ผศ.ดร.ณัฐพล ธนเชวงสกุล

ศิษย์เก่า DICT5

ดร.ธนพล นามนวล นักศึกษาปริญญาเอก ภาคพิเศษ รุ่นที่ 4 เป็นผู้เชี่ยวชาญ Starup และสมรรถนะผู้ประกอบการดิจิทัล ได้รับแต่งตั้งให้เป็นผู้จัดการส่วนบริหารกลยุทธ์สารสนเทศ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมแห่งประเทศไทย หรือ SME Bank

ดร.ธนพล นามนวล

ผู้บริหารองค์กรเอกชน

Our Blog

ข่าวสารและสาระจาก DICT

  • รับสมัครนักศึกษาใหม่ ภาคเรียนที่ 2/2567 ช่วงที่ 1

    รับสมัครนักศึกษาใหม่ ภาคเรียนที่ 2/2567 ช่วงที่ 1
    สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
    ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยีและสารสนเทศ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
    มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
    https://dict.fte.kmutnb.ac.th/
    เปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ ภาคเรียนที่ 2/2567 ช่วงที่ 1
    ระหว่างวันพุธ ที่ 3 กรกฎาคม 2567 วันอังคาร ที่ 3 กันยายน 2567
    ปริญญาเอก (DICT14) ภาคนอกเวลาราชการ แบบ 1.1 ทำวิจัยอย่างเดียว จำนวน 2 คน
    – เงื่อนไขจบตีพิมพ์ประชุมวิชาการนานาชาติ SCOPUS 1 บทความ
    – เงื่อนไขจบตีพิมพ์นานาชาติ SCOPUS 2 บทความ
    ปริญญาเอก (DICT14) ภาคปกติ แบบ 2.1 เรียนชั้นเรียนปกติ จำนวน 5 คน
    ปริญญาเอก (SDICT12) ภาคพิเศษ (เสาร์-อาทิตย์) จำนวน 10 คน
    ปริญญาโท (MICT6) ภาคปกติ จำนวน 10 คน
    ปริญญาโท (SMICT7) ภาคพิเศษ (เสาร์-อาทิตย์) จำนวน 15 คน
    รับสมัครผ่านระบบออนไลน์ ระหว่างวันพุธ ที่ 3 กรกฎาคม 2567 วันอังคาร ที่ 3 กันยายน 2567
    คณาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
    ศาสตราจารย์ ดร.พัลลภ พิริยะสุรวงศ์
    รองศาสตราจารย์ ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ
    ศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
    https://grad.admission.kmutnb.ac.th

    ติดต่อประสานงานโดยตรงได้ที่ คุณอัธิยาพร แก้วงาม
    097-1414-993 หรือ e-mail : auttiyaporn.k@fte.kmutmb.ac.th
    (คุณอัธิยาพร แก้วงาม)

  • ขอแสดงความยินดี ศ.ดร.พัลลภ พิริยะสุรวงศ์

    สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
    ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยีและสารสนเทศ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
    มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
    ขอแสดงความยินดีอย่างยิ่ง กับ

    ศาสตราจารย์ ดร.พัลลภ พิริยะสุรวงศ์
    ในโอกาสที่ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง
    กรรมการสภาวิชาการ
    มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี

  • ผศ.อัจจิมา มั่นทน SDICT-5

    สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
    ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยีและสารสนเทศ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
    มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
    ขอแสดงความยินดีอย่างยิ่ง กับ

    ผู้ช่วยศาสตราจารย์ อัจจิมา มั่นทน SDICT-5
    ในโอกาสที่ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง
    ผู้ช่วยอธิการบดี
    มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์

  • รศ.ดร.อำนาจ สวัสดิ์นะที DICT-1

    สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
    ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยีและสารสนเทศ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
    มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
    ขอแสดงความยินดีอย่างยิ่ง กับ

    รองศาสตราจารย์ ดร.อำนาจ สวัสดิ์นะที DICT-1
    คณบดีคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม
    ในโอกาสที่ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง
    รองศาสตราจารย์
    สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ
    มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม

  • ขอแสดงความยินดี ดร.สุรศักดิ์ ศรีสวัสดิ์ DICT-11

    สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
    ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยีและสารสนเทศ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
    มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
    ขอแสดงความยินดีอย่างยิ่ง กับ

    ดร.สุรศักดิ์ ศรีสวัสดิ์ DICT-11
    ในโอกาสที่ได้รับการแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่ง
    ผู้อำนวยการกลุ่มพัฒนาและส่งเสริมการวัดและประเมินผลการเรียนรู้
    สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
    กระทรวงศึกษาธิการ
    ณ วันที่ ๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๖๗ เป็นต้นไป

  • Intelligent Collaborative Supply Chain Management (iCSCM)

    Abstract:

    This research explores the transformative potential of Intelligent Collaborative Supply Chain Management (iCSCM) in driving the success of a University Holding Company. Emphasizing the intersection of artificial intelligence and collaborative strategies, the paper delves into how iCSCM optimizes planning, sourcing, manufacturing, delivery, and returns within the university’s commercial ventures. By harnessing the power of predictive analytics, realtime communication, and adaptive decision-making, iCSCM establishes an agile and efficient supply chain ecosystem. The integration of intelligent technologies enhances collaboration with suppliers, improves manufacturing processes, and streamlines logistics, ensuring the University Holding Company effectively commercializes intellectual assets. This synthesis of advanced technologies not only propels operational efficiency but also positions the university as a dynamic player in the commercial landscape, bridging the gap between academia and industry innovation.

    S. Phuengrod, P. Wannapiroon and P. Nilsook, “Intelligent Collaborative Supply Chain Management (iCSCM),” 2024 IEEE International Conference on Cybernetics and Innovations (ICCI), Chonburi, Thailand, 2024, pp. 1-6, doi: 10.1109/ICCI60780.2024.10532433.
    https://doi.org/10.1109/ICCI60780.2024.10532433

    keywords: {Industries;Technological innovation;Supply chain management;Supply chains;Collaboration;Companies;Propulsion;Supply Chain Management;Collaborative Supply Chain;Artificial Intelligence},

  • Digital Asset Management Process using AI TRiSM

    Abstract:

    This article presents two main objectives: (1) To synthesize the digital asset management process using AI TRiSM. (2) To study the results of the digital asset management process using AI TRiSM. Consequently, the administration of digital assets will bring about an increase in the organization’s overall efficiency through the implementation of technology that utilizes artificial intelligence to drive the management system. On the other hand, having a vast volume of information within an organization may result in management issues and a lack of transparency. A multitude of organizations are making preparations to put AI TRiSM ideas into practice. The analysis revealed that the mean value is 4.91, while the standard deviation is 0.14. A digital asset management platform that can be used to track usage inside an organization can be developed with the help of the AI TRiSM model. This will help establish trust, decrease risk, and guarantee workplace security.

    P. Tasatanattakool, P. Wannapiroon and P. Nilsook, “Digital Asset Management Process using AI TRiSM,” 2024 IEEE International Conference on Cybernetics and Innovations (ICCI), Chonburi, Thailand, 2024, pp. 1-6, doi: 10.1109/ICCI60780.2024.10532376.
    https://doi.org/10.1109/ICCI60780.2024.10532376

    keywords: {Technological innovation;Standards organizations;Employment;Organizations;Asset management;Security;Artificial intelligence;Digital Asset Management;Artificial Intelligence;AI TRiSM},


  • AI แนะนำ DICT/MICT

  • รับสมัครนักศึกษาใหม่ ภาคเรียนที่ 1/2567 ช่วงที่ 6

    รับสมัครนักศึกษาใหม่ ภาคเรียนที่ 1/2567 ช่วงที่ 6
    สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
    ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยีและสารสนเทศ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
    มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
    https://dict.fte.kmutnb.ac.th/
    เปิดรับสมัครนักศึกษาใหม่ ภาคเรียนที่ 1/2567 ช่วงที่ 6
    ระหว่างวันพฤหัสบดี ที่ 16 พฤษภาคม 2567 ถึง วันพุธ ที่ 5 มิถุนายน 2567
    ปริญญาเอก (DICT14) ภาคนอกเวลาราชการ แบบ 1.1 ทำวิจัยอย่างเดียว จำนวน 2 คน
    – เงื่อนไขจบตีพิมพ์ประชุมวิชาการนานาชาติ SCOPUS 1 บทความ
    – เงื่อนไขจบตีพิมพ์นานาชาติ SCOPUS 2 บทความ
    ปริญญาเอก (DICT14) ภาคปกติ แบบ 2.1 เรียนชั้นเรียนปกติ จำนวน 5 คน
    ปริญญาเอก (SDICT12) ภาคพิเศษ (เสาร์-อาทิตย์) จำนวน 10 คน
    ปริญญาโท (MICT6) ภาคปกติ จำนวน 10 คน
    ปริญญาโท (SMICT7) ภาคพิเศษ (เสาร์-อาทิตย์) จำนวน 15 คน
    รับสมัครผ่านระบบออนไลน์ ระหว่างวันพฤหัสบดี ที่ 16 พฤษภาคม 2567 ถึง วันพุธ ที่ 5 มิถุนายน 2567
    คณาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
    ศาสตราจารย์ ดร.พัลลภ พิริยะสุรวงศ์
    รองศาสตราจารย์ ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ
    ศาสตราจารย์ ดร.ปรัชญนันท์ นิลสุข
    https://grad.admission.kmutnb.ac.th

    ติดต่อประสานงานโดยตรงได้ที่ คุณอัธิยาพร แก้วงาม
    097-1414-993 หรือ e-mail : auttiyaporn.k@fte.kmutmb.ac.th
    (คุณอัธิยาพร แก้วงาม)

  • ศ.ดร.พัลลภ พิริยะสุรวงศ์ ศิษย์เก่าดีเด่น มศว.

    สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
    ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยีและสารสนเทศ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม
    มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
    ขอแสดงความยินดีอย่างยิ่ง กับ

    ศาสตราจารย์ ดร.พัลลภ พิริยะสุรวงศ์
    ✨ ศิษย์เก่าดีเด่น ด้านวิจัย วิชาการและนวัตกรรม
    งานเชิดชูเกียรติ “วันมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ”
    รางวัล “ศรีสง่าศรีนครินทร” ปีการศึกษา 2566
    มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
    วันที่ 26 เมษายน พ.ศ.2567

  • มุทิตาจิต วันปีใหม่ไทย 2567

    นักศึกษาและศิษย์เก่าสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
    คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
    เข้าร่วมกิจกรรมรดน้ำดำหัวและขอพรคณาจารย์
    เนื่องในศุภวารดิถีขึ้นปีใหม่ไทย ๒๕๖๗
    วันอังคารที่ ๙ เมษายน ๒๕๖๗
    ณ ห้องประชุมปรมะ บัณฑิตวิทยาลัย ชั้น ๑๒
    อาคารนวมินทรราชินี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ)

  • การสอบก้าวหน้าวิทยานิพนธ์นักศึกษาปริญญาเอก

    การสอบก้าวหน้าวิทยานิพนธ์นักศึกษาปริญญาเอก
    สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
    https://www.facebook.com/dictkmutnb
    ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยีและสารสนเทศ
    คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ (มจพ.)
    วันที่ 9 เมษายน พ.ศ.2567

    นายศานต์ พานิชสิติ #SDICT9
    การจัดมโนทัศน์โปรแกรมจินตภาพผสานปัญญาประดิษฐ์ทุกสรรพสิ่งเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการคิดเชิงคำนวณขั้นสูง

    นางสาวอรพรรณ อำนวยศิลป์ #SDICT8
    การเรียนรู้เชิงประสบการณ์ผ่านแพลตฟอร์มการจัดการห้องปฏิบัติการระยะไกลเพื่อสร้างกำลังคนดิจิทัลสมรรถนะสูง

    นางสาวธนานันต์ อารีย์พงศ์ #SDICT8
    รูปแบบชุมชนการเรียนรู้สหวิทยาการจักรวาลนฤมิตเพื่อสร้างวิศวกรสังคมสำหรับมหาวิทยาลัยพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน

    นางสาวศศิธร อิสโร #DICT11
    การเทียบโอนประสบการณ์การเรียนรู้ด้วยวิศวกรรมปัญญาประดิษฐ์เพื่อพยากรณ์สมรรถนะวิชาชีพดิจิทัล

    คณะกรรมการสอบก้าวหน้าวิทยานิพนธ์
    ศ.ดร. พัลลภ พิริยะสุรวงศ์
    ศ.ดร. ปรัชญนันท์ นิลสุข
    รศ.ดร. ปณิดา วรรณพิรุณ